หนึ่งคน หนึ่งการแข่งขัน?

หนึ่งคน หนึ่งการแข่งขัน?

คนญี่ปุ่นจะมีลักษณะที่เป็นสังคมเดียวกันมากที่สุดและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเนื้อเดียวกันทางเชื้อชาติมากที่สุดในโลก
นี่คงเป็นเหตุผลที่ว่าญี่ปุ่นมีการพัฒนาเศรษฐกิจในยุคหลังสงครามไปสู่ยุค 90 ได้อย่างรวดเร็วมาก ด้วยความเป็นปึกแผ่นทางสังคม แม้จะมีปัญหาการขาดแคลนแรงงานตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 เจ้าหน้าที่ได้ยกเลิกการลงโทษแรงงานต่างด้าวอย่างเป็นทางการจนถึงทศวรรษที่ 1980 หลังจากนั้นก็อาศัยกลไกการทำงานของเครื่องจักรที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มแรงงานหญิงขึ้นมาแทน
จนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ คนงานชาวญี่ปุ่นได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทที่พวกเขาทำงานให้ เช่น นักธุรกิจจะต้องแนะนำตัวเองว่า “ผมนิสสัน Takahashi ครับ” นั่นหมายถึง เราอาจได้แนวคิดว่า คนญี่ปุ่นจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาของสังคมนั้นๆ
อย่างไรก็ตามในปี 2008 นักการเมืองชาวญี่ปุ่นชื่อ Nariaki Nakayama ลาออกหลังจากประกาศว่าญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีลักษณะเฉพาะทางเชื้อชาติ แสดงให้เห็นว่าความคิดเก่าแก่ “หนึ่งคน หนึ่งการแข่งขัน” ซึ่งความคิดนั้นไม่ถูกต้องทางการเมือง
การวิจารณ์คำแถลงของ Nariaki Nakayama เน้นไปที่การไม่สนใจคนพื้นเมือง Ryukyukan ในภาคใต้ของโอกินาวา และชาวAinu จากทางตอนเหนือของเกาะฮอกไกโด ซึ่งถูกตั้งรกรากโดยชาวญี่ปุ่นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19
ในปี 1994 เป็นนักการเมืองชาว Ainu คนแรกที่ได้รับเลือกตั้ง กล่าวว่าคนญี่ปุ่นมีความเก่งกาจในการจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันในญี่ปุ่น
การพัฒนาประชากรสมัยใหม่
การสำรวจสำมะโนประชากรครั้งล่าสุด ได้มีการให้ประชาชนบอกสัญชาติ ไม่ใช่เชื้อชาติ ดังนั้นประชากรที่แท้จริงของประเทศยังไม่เป็นที่แน่นอน ถึงแม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงสัญชาติประมาณ 15,000 คนในแต่ละปี การอพยพก็ยังคงดำเนินอยู่ต่อไปอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการตั้งแต่ญี่ปุ่นยุตินโยบายการแยกตัวออกจากกันในช่วงกลางศตวรรษที่ 18
นอกเหนือจากการอพยพของชาวต่างชาติ คนญี่ปุ่นและลูกหลานของพวกเขาก็ได้ทีการย้ายไปอย่างอิสระตั้งแต่เปิดพรมแดน ถึงแม้ว่าการสำรวจสำมะโนประชากรจะไม่รวมพวกเขาไปด้วย แต่ปัจจุบันมีชาวญี่ปุ่นจำนวน 750,000 คนที่มีเชื้อชาติผสมกันรวมทั้งชาวต่างชาติที่เข้ามาอยู่ถาวรประมาณ 1.5 ล้านคนในจำนวนประชากรทั้งหมดประมาณ 126 ล้านคน
เนื่องจากกลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองและกลุ่มชาติพันธุ์หลักของประเทศญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะไม่พำนักอยู่ในพื้นที่ Kanto และ Kansai ซึ่งเป็นจังหวัดที่นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มักเดินทางท่องเที่ยวไป นักท่องเที่ยวอาจรวมผู้ที่ไม่ใช่คนญี่ปุ่นไปในอาจสรุปได้ว่าประชากรชาวญี่ปุ่นที่ไม่ใช่ชาวผิวขาวมีจำนวนน้อยมาก มีประชากรของครูสอนภาษาอังกฤษจากแถบตะวันตกและพนักงานภาคการเงินเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงโตเกียว แต่ตอนนี้มีข้อ จำกัดในการขยายวีซ่าให้ทำงานพิเศษเกินกว่าสามปีดังนั้นจึงมีคนจำนวนน้อยเท่านั้นที่ได้สิทธิ์เป็นพลเมืองถาวร

กลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นมักมีต้นกำเนิดมาจากเกาหลี จีน บราซิล และฟิลิปปินส์ ตั้งแต่ปี 1970 มีการไหลเข้าอย่างต่อเนื่องของชาวบราซิลเชื้อสายญี่ปุ่น และคนกลุ่มนี้มีจำนวน 5-10% ของประชากรในเขตเมืองอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น ทุกวันนี้ประชากรในรุ่นเด็กๆ พูดภาษาแต่ญี่ปุ่นเท่านั้น และก็ไม่ใช่ภาษาของบรรพบุรุษของพวกเขาด้วย นอกเหนือไปจากครอบครัวเหล่านี้แล้ว มีคนงานเป็นจำนวนมากนับหมื่นคนที่ได้รับการคัดเลือกให้ทำงานโรงงานและทำงานนอกข้อตกลงตั้งแต่ทศววรษที่ 1990
กรณีความหลากหลายของชาติพันธุ์ปรากฏเด่นชัดในสังคมญี่ปุ่น สหประชาชาติคาดการณ์ว่าญี่ปุ่นจะถึงจุดวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2050ที่ประชากรที่ไม่ทำงานจะมีจำนวนมากกว่าประชากรที่ทำงาน การริเริ่มเช่นข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างญี่ปุ่น – ฟิลิปปินส์ในปี 1994 ระบุว่าญี่ปุ่นกำลังแสวงหาทางออกโดยการให้อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น 3-4 ปีสำหรับผู้ที่ทำงานที่รับการอบรมแล้วละผู้ดูแล แม้ว่าจะยังไม่เต็มใจที่จะให้ที่อยู่อย่างถาวร
นักการเมืองหัวโบราณยังสนับสนุนการเพิ่มเครื่องจักรให้เป็นทางออกของปัญหา ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วกำลังเกิดขึ้นในด้านหุ่นยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการดูแลผู้สูงอายุ แต่การผลิตจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างมากหากการประมาณการของสหประชาชาติว่าด้วยการขาดแคลนแรงงานภายในปี 2050 ถูกต้องแม่นยำ
นอกเหนือจากเชื้อชาติแล้ว ยังมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างภูมิภาค ซึ่งส่วนใหญ่ปรากฎให้เห็นเป็นเวลานานแล้ว แต่ไม่ค่อยเห็นได้ชัดมากจากสายตาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ตัวอย่างเช่น อันดับแรก Osaka-ben เป็นภาษาสำนวนที่ใช้ในพื้นที่คันไซ ซึ่งเป็นที่กล่าวถึงการอภิปรายเรื่องเงิน ในขณะที่ชาวโตเกียวมีแนวโน้มที่จะใช้ความพยายามอย่างมากในการหลีกเลี่ยงการพูดถึงเรื่องเงิน อันดับสอง ชาว Kyushu ที่อยู่ทางตอนใต้สุดของสี่เกาะใหญ่ของญี่ปุ่น เปรียบเทียบตัวเองกับประเทศทางแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน “ด้วยขนบธรมเนียมแบบดั้งเดิมที่ล้าหลัง คนจึงมีอารมณ์ที่หุนหันพลันแล่นมากกว่า”
ความท้าทายสำหรับคนรุ่นต่อไป
ความแตกต่างกันยังเป็นที่ประจักษ์ให้เห็นระหว่างคนรุ่นตั้งแต่เกิดฟองสบู่เศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1990 เยาวชนรุ่นใหม่กำลังเผชิญหน้ากับวัฒนธรรมการทำงานที่แตกต่างกันอย่างมาก โดยไม่มีการรับประกันงานความมั่นคงของงานอีกแล้ว
ดังนั้นการระบุตัวตนกับบริษัทจึงลดลง บริษัทญี่ปุ่นได้มีการจ้างงานใหม่เข้ามาเป็นประจำ และทำการปลดพนักงานที่ทำงานร่วมกับบริษัทมานานหลายสิบปี ดังตัวอย่างของบทบาทตัวละครของพ่อ ในภาพยนตร์เรื่อง Tokyo Sonata ในปี 2008
แม้ว่าหนังเรื่องนี้เป็นแนวนวนิยายและไม่จำเป็นต้องแสดงถึงสถานการณ์ทั่วไป แต่หนังก็เน้นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมดูได้จากสำนวนภาษาญี่ปุ่นที่กล่าวมาบ่อยๆ: “เล็บไหนที่ยื่นออกมาก็ต้องถูกตัดทิ้งไป”
ภาพยนตร์เรื่องสนับสนุนการพัฒนาไปตามความสอดคล้อง เช่น ลูกชายในภาพยนตร์มีความสามารถในด้านเปียโน แม้พ่อของเขาพยายามที่จะให้เขาทำตัวให้สอดคล้องกับระบบการศึกษาและการจ้างงาน แต่ช่องว่างระหว่างวัยและการกำหนดค่านิยมเป็นต่างๆ ทำให้ประจักษ์ชัดในความเป็นจริงที่ว่า นักการเมืองมีอายุโดยเฉลี่ยอยู่ที่อายุหกสิบปี
ในตลาดงานที่มีการแข่งขันสูง ซึ่งการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้ได้อย่างคล่องแคล่วถูกมองว่าเป็นกุญแจแห่งความสำเร็จ เยาวชนชาวญี่ปุ่นวัยหนุ่มสาวจำนวนมากจึงกำลังศึกษาอยู่ในต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งหมายความว่าบางคนมีการพัฒนารูปลักษณ์แบบของคนต่างชาติในอีกหลายปีต่อมา
นอกจากนี้ยังมีปรากฏการณ์ทางสังคมของ furita : :ซึ่งคนหนุ่มสาวที่ใช้เวลาไปทำงานพาร์ทไทม์ แทนที่จะทำงานเต็มเวลาเพียงงานเดียว และมักไปทำงานในสถานที่ เช่น บาหลีและออสเตรเลีย
จำนวนประชากรวัยหนุ่มสาวที่คาดว่าจะอยู่ระหว่าง 1-3 ล้านคน ที่ไม่เคยออกจากบ้าน ในจำนวนนี้ พวกเขาไม่มีงานทำและไม่ต้องจ่ายภาษี การเพิ่มจำนวนประชากรในวัยสูงอายุที่มากที่สุดในประเทศที่พัฒนาแล้ว ในขณะที่จำนวนประชากรทั้งหมดลดลงและเยาวชนบางคนก็ทำงานนอกเวลาเพียงอย่างเดียว
สมการที่สร้างขึ้นมานานระหว่างสัดส่วนอายุประชากรจะถือเป็นเรื่องของความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่าง senpai (ประสบการณ์) และ kohai (ไม่มีประสบการณ์) จะเห็นได้ชัดเจนตั้งแต่ทีมเบสบอลของวิทยาลัยไปจนถึงสำนักงานและลำดับชั้นของโรงงาน อย่างไรก็ตามโครงสร้างเหล่านี้อยู่ภายใต้การตรวจสอบข้อเท็จจริงในเวลาที่ไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ และอาจปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงตามกรอบในค่านิยม และเป้าหมายของเยาวชนกับคำถามที่ว่า อะไรคือการเป็นคนญี่ปุ่น

Comments are closed.